วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

จงค้นหาคำสั่งพร้อม update blog ทุกคำสั่ง

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

1.คำสั่ง ls
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dosรูปแบบ $ ls [-option] [file]option ที่สำคัญl แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้างa แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directoryF แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ/ = directory* = execute file @= link fileld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)เช่น$ ls$ ls -la

2.คำสั่งcd
คำสั่ง cd ใช้สำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่รูปแบบ: cd การเคลื่อนย้ายพื้นที่ในการใช้งาน ทำได้โดยใช้คำสั่ง cd ตามด้วยชื่อไดเร็คทอรี่ที่เป็นจุดหมายปลายทาง โดยจะเขียนชื่อของไดเร็คทอรี่แบบสัมบูรณ์ หรือแบบสัมพันธ์ก็ได้ เช่นตัวอย่าง: เคลื่อนไปไดเร็คทอรี่ bin ซึ่งอยู่ภายใต้ไดเร็คทอรีปัจจุบัน$ cd binตัวอย่าง: แสดงการใช้เส้นทางแบบสัมบูรณ์ระบุจุดหมายปลายทาง$ cd /rootตัวอย่าง: กลับไปยัง Home ไดเร็คทอรี่$ cdตัวอย่าง: การแสดงว่าขณะนี้เราทำงานอยู่ที่ไดเร็คทอรี่ใด$ pwd/home/train1ในตัวอย่างนี้คงจะเห็นว่า ถ้าใช้คำสั่ง cd เฉย ๆ คือการระบุให้กลับไปยังไดเร็คทอรีบ้าน อันได้แก่ ไดเร็คทอรีแรกที่เข้ามาเมื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ ซึ่งสามารถเปลี่ยนค่าของไดเร็คทอรีบ้านได้ด้วยการเปลี่ยนค่าของตัวแปรเชลล์ที่ชื่อ HOME ส่วน “..” คือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงไดเร็คทอรี “พ่อ” อันได้แก่ ชั้นที่อยู่ข้างบนชั้นปัจจุบัน

3.คำสั่ง pwd
แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน$ pwdbobby@comsci:~$ pwd/home/bobby

4.คำสั่งfile
บนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ รูปแบบคำสั่ง file [option]... file ตัวอย่าง file /bin/sh file report1.doc

5.คำสั่ง mv
ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_targetความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html

6.คำสั่ง mkdir
ใช้สำหรับสร้างไดเร็คทอรี่รูปแบบ: mkdir ตัวอย่าง: การสร้างไดเร็คทอรี่ชื่อ mydir อยู่ในไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน$ mkdir mydir

7.คำสั่ง rm
คำสั่งสำหรับการลบไฟล์รูปแบบ: rm [option] option คือทางเลือกที่จะใช้กับคำสั่ง rm โดยจะยกตัวอย่างที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่-r คือ การสั่งให้ลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่ (recursive)-f คือ การสั่งยืนยันการลบ (force) จะไม่ขึ้น prompt ถามยืนยันการลบfile_name คือ ชื่อไฟล์ที่ต้องการลบdirectory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง การลบมากกว่า 1 ไฟล์$ rm oldbills oldnotes badjokesตัวอย่าง การลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่$ rm -r ./binตัวอย่าง การลบแบบยืนยันการลบ$ rm –f oldbills oldnotes badjokes

8..คำสั่ง rmdir
คำสั่ง rmdir เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง: การลบไดเร็คทอรี่ essays$ rmdir essays

9. คำสั่งChown
คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1 chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.

10. คำสั่งChgrp
คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /rootให้เป็น Group root

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส

1. คำสั่งPs
- การดูสถานะของ Process ต่างบนระบบแสดงโปรเซสทั้งหมดรูปแบบการใช้งาน ps[option]... โดย option ที่มักใช้กันใน ps คือ -l แสดงผลลัพธ์เป็น Long Format-f แสดงผลลัพธ์เป็น Full Format-a แสดง Proces ทั้งหมดที่มี TTY ตรงกับ TTY ของผู้ใช้งาน-x แสดง Process ทั้งหมด
2. คำสั่งKill
- คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process) ส่งรหัสควบคุมไปยังโปรเซส รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID) ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. คำสั่งFg
- โดยส่วนมากใช้คำสั่ง fg เพื่อที่นำ การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ (ซึ่งก็คือเหมือนคำสั่ง Ctrl-Z ) โดยส่ง signal ให้แก่ process ว่า CONT signal
4. คำสั่งBg
- เปลี่ยน รูป background ของหน้าเว็บ

5. คำสั่งJobs
- คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall) รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobs


คำสั่งสำรองข้อมูล

1.คำสั่ง tar
ทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจรูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>ตัวอย่าง tar -xvf test.tarจัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว
2.คำสั่ง gzip
ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.คำสั่งgunzip
คือขยายไฟล์ที่บีบไว้รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

1.คำสั่ง telnet
เป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 98 ก็มี)รูปแบบ $ telnet hostnameเช่น c:\> telnet comsci.rid.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ comsci.rid.ac.th $ telnet 202.28.54.182 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.28.54.182$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้นเมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง
2.คำสั่ง ftpftp
เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pubรูปแบบ $ ftp hostnameคำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftpftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftpftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้นftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเองftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhostftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> cd ใช้เปลี่ยน directoryftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์
3.คำสั่งlynx
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์แบบ text
4.คำสั่งmesg
เปิด/ปิดการรับข้อความจากคำสั่ง write
5.คำสั่งping
ทดสอบการตอบสนองของโฮสต์ปลายทาง
6.คำสั่งwrite
คำสั่งส่งข้อความไปยังจอภาพอื่น

คำสั่งอื่นๆ

1.คำสั่งAt
-ตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง
2.คำสั่งCpio
3.คำสั่งbc
- คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
4.คำสั่งbasename
5.คำสั่ง last
- ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
6.คำสั่งcrontab
- ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด
7.คำสั่งdd
- ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
8.คำสั่งdu
- แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่
9. คำสั่งdirname-
10.คำสั่งln-
11.คำสั่งenv

- แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. คำสั่งeject
13.คำสั่งexec-
14.คำสั่งfree
-เป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์
15.คำสั่งgroups-
16.คำสั่งhostname

-แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์
16.คำสั่งhostname
- คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
17.คำสั่งlp-
18.คำสั่งmount
- เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ
19.คำสั่งmt
20.คำสั่งnice
21.คำสั่งnohup
22.คำสั่งnetstat
- แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
23.คำสั่งOd
24.คำสั่งPr
25.คำสั่งdf
- เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์
26.คำสั่งPrintf
27.คำสั่งDf
-รายงานขนาดดิสก์ที่เหลืออยู่
28.คำสั่งPrintenv
29.คำสั่งPg
30.คำสั่งQuota
31.คำสั่งRlogin